รายละเอียด
สารบัญภายในเล่ม
- ปก : วิปัสสนา และ อานาปานสติ
- คำนำ
- คำว่า “วิปัสสนา”
- “วิปัสสนา” มีความหมายว่า “เห็นแจ้งชัด”
- “เห็นแจ้ง” คือเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
- วิปัสสนาแท้จริง ต้องเห็นแจ้ง คงที่เรื่อยไป
- “การเพ่ง” เป็นได้ทั้งสมถะและวิปัสสนา
- ไม่ควรเพ่ง เพื่อความสงบอย่างเดียว, พึงเพ่ง เพื่อให้เห็นแจ้งด้วย
- “สมาธิภาวนา” นำพาสู่เป้าหมาย 4 ประการ
- “วิปัสสนาแท้” คือทำให้เห็นแจ้ง ไม่ยึดมั่นถือมั่น
- กิเลสที่แท้จริง คือ กิเลสอย่างละเอียด
- กิเลสแท้จริง ละได้ด้วยโลกุตตรธรรม
- ทำวิปัสสนา เพื่อสร้างอริยมรรคขึ้นมาฆ่ากิเลส
- เมื่ออริยมรรคมีขึ้นแล้ว กิเลสจะไม่มีอาหารและแห้งดับไป
- เป็นอยู่ให้ถูกต้องด้วยวิปัสสนา จักเดินหน้าสู่ความเป็นอริยบุคคล
- วิปัสสนาจะบังเกิดผล ต้องฝึกฝน “อานาปานสติ”
- เจริญวิปัสสนาทุกลมหายใจ เป็นวิสัยที่ทำได้
- ถ้ายังทำอานาปานสติขั้นลึกไม่ได้ ก็ให้เริ่มจากง่ายไปหายาก
- อานาปานสติ 16 ขั้น เทียบกับสติปัฏฐาน 4
- สติปัฏฐานสัมพันธ์กับการฝึกอานาปานสติ
- เพ่งให้เห็นชัดว่า “นี่ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา” คือเป้าหมายของวิปัสสนา
- เพ่งดูให้รู้แจ้งว่า “สิ่งทั้งปวง ไม่น่าเอา” เพียงเท่านั้น ญาณก็จะเกิด
- วิปัสสนาที่เห็นแจ้งง่าย ให้ใส่ใจเพ่งดูที่ตัวทุกข์
- คนจะพ้นทุกข์ทั้งปวงได้ ต้องอาศัย “สัมมาทิฏฐิ”
- มีสัมมาทิฏฐิแบบโลกีย์ ก็มีสุขทุกข์ตามสภาพ
- มีสัมมาทิฏฐิแบบโลกุตตระ จะระอาใจในสุขทุกข์ ไม่ยึดถือ
- เข้าถึง “นิพพาน” ได้ ความน่าระอาใจก็สลายหมดสิ้น
- อานาปานสติ (สำหรับคนทั่วไปอย่างง่าย ขั้นต้นๆ เพื่อรู้จักไว้ก่อน)
- “อานาปานสติ” ทำให้ชิน ทำให้คล่อง อานิสงส์มหาศาล
- ฝึก “อานาปานสติ” เหมือนพี่เลี้ยงไกวเปลเด็ก
- มนุษย์ไม่เสียชาติเกิด เมื่อได้เจริญอานาปานสติ